เอลนิโญ
เป็นปรากฎการณ์การไหลย้อนกลับของผิวน้ำทะเลที่อุ่นในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ จากบริเวณเส้นศูนย์สูตรทางมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันตก ไปยังบริเวณเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตามบริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของ ทวีปอเมริกาใต้ (ประเทศเปรู เอดวาดอร์ และซิอีตอนเหนือ) ปรากฏการณ์เอลนิโญ (El Nino Phenomena) เป็นสาเหตุ ภูมิอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศเปรู ซึ่งอยู่ด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณหมู่เกาะด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งประกอบด้วย ประเทศอินโดนีเซีย นิวกินี และออสเตรเลียในช่วง ปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้อ่อนกำลังลงไม่สามารถพัดพาความชุ่มชื้น จากมหาสมุทรเข้าสู่หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกได้ ตามปกติจึงเกิดความแห้งแล้งใน ภูมิภาคนี้ ในทาง ตรงกันข้ามความชุ่มชื้นที่มากเกินปกติถูกพัดพาข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกเข้าสู่ชายฝั่ง ของทวีปอเมริกาใต้จนเกิดอุทกภัยในภูมิภาคนี้ เช่นเดียวกัน
นอกจากนี้กระแสน้ำลุ่นที่ถูกพัดพามายังช่วยผลักดันกระแสน้ำชายฝั่งซึ่งมีธาตุอาหารอันอุดมสมบูรณ์จนไม่สามารถไหล เข้าสู่ทะเลลึก ทำให้สัตว์น้ำที่ชุกชุมมากในบริเวณที่มีปริมาณลดลง เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเป็นสภาพ ภูมิอากาศปกติ และไม่เกิด ผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบภูมิอากาศของโลก แต่ถ้าสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เช่นนี้ยืดเยื้อออกไปเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งก่อให้เกิดความแห้งแล้งอย่างมากเนื่องจากในบริเวณตะวันตกของมหาสมุทร แปซิฟิก และเกิดความชุ่มชื้น ที่มากเกินปกติ ในบริเวณตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งเรียกว่า ความผันผวนของ ภูมิอากาศในซีกโลกใต้ (Southern Oscillation) ความผันผวนของระบบภูมิอากาศในบริเวณซีกโลกใต้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย เริ่มมีการศึกษาและ พยายามอธิบายถึงสาเหตุการเกิดมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1920 โดย Sir Gilbert Wslker ต่อมา Lim (1984) อ้างว่า Berlage (1966) ได้พยายามให้ความหมายของความผันผวนของระบบ ภูมิอากาศในซีกโลกใต้โดยรวมถึงความรุนแรงของความหมุนเวียนของบรรยากาศ ในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทร แปซิฟิกนี้เข้าด้วยกัน ต่อมา Quinn et al. (1978) กล่าวว่า ความผันผวน ของระบบภูมิอากาศ บริเวณนี้มีความสัมพันธ์กับ ความแตกต่างระหว่างความดันอากาศบริเวณความดันอากาศสูงถึงเขตร้อนแถบมหาสมุทรแปซิฟิกให้ (South Pacific Subtropical High) และความดันอากาศบริเวณความดันอากาศต่ำเขตศูนย์สูตรใกล้ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Equatorial Low) ซึ่งเป็นค่าที่แสดงถึงความผันผวนของระบบภูมิอากาศในซีกโลกใต้ (Southern Oscillation Indices) เมื่อใดที่ค่าดัชนีดังกล่าวมีค่าต่ำกว่า ศูนย์หรือติดลบ เมื่อจะเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญและถ้าเกิดติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี ก็จะเป็นความผันผวนของระบบภูมิอากาศ ที่เกิดขึ้นในซีกโลกใต้ ซึ่ง Lim (1984) อ้างถึงการศึกษาของ Berlage 1966 และ Bjerkness (1966, 1969 และ 1972) ซึ่งสามารถ อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของผิวน้ำทะเลมีความสัมพันธ์กับ การหมุนเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร และปริมาณน้ำฝน ที่ตกลงมาบริเวณเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิก จึงรวมเรียกว่า ปรากฏการณ์เอลนิโน และความผันผวนของระบบ ภูมิอากาศบริเวณซีกโลกใต้นี้ว่า เอนโซ ENSO ( El Nino Southern Oscillation)
อิทธิพลของปรากฏการณ์เอลนิโญ
ผลกระทบการเกิดปรากฏการณ์ ENSO คือ ความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยาวนานในบริเวณหมู่เกาะด้าน ตะวันตกของ มหาสมุทรแปซิฟิก และความชุ่มชื้นอย่างผิดปกติเช่น มีพายุเฮอริเคนพัดเข้าสู่ชายฝั่งของทวีปอเมริกาใต้ใส กว่าปกติจนเป็น สาเหตุของการเกิดอุทกภัย นอกจากมีกระแสน้ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกแถบชายฝั่งทะเล ของประเทศเปรูและเอดวาดร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่มีกระแสน้ำที่ไหลลงมาจากขั้วโลกใต้เลียบชายฝั่งของทวีปอเมริกาใต้ โดยอิทธิพลของลมตะวันตก แต่บริเวณใต้ฝั่งน้ำทะเล ทิศทางการไหลของกระแสน้ำทำมุม 90 องศา กับทิศทางของลมที่พัด เลียบชายฝั่งทะเลตามหลักการเกลียวหมุนของ Ekman’s Spiralซึ่งทำให้กระแสน้ำเย็นถูกพัดออกจากชายฝั่งทะเล ของประเทศพร้อมกับความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารจากชายฝั่งทะเลออกสู่ทะเลลึก ซึ่งนำไปสู่การเป็นแหล่งปลาชุกชุม เป็นแหล่งที่ชาวประมงจับปลาได้ไม่น้อยกว่า 10 ล้านตัน แต่หลังจากมีปรากฏการณ์เอนโซเกิดขึ้น กระแสน้ำที่ไหลย้อน ทิศทางที่เคยเป็นมาผลักดันกระแสน้ำจนไม่สามารถพัดพาความอุดมสมบูรณ์ออกจากชายฝั่งทะเล ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ลดลงเป็นสาเหตุให้ปริมาณที่จับได้ลดลงเหลือเพียง
ปีละ 4 ล้านต้น เท่านั้น (Ahrem, 1983) เหตุการณ์เช่นนี้มี ผลกระทบต่อการผลิตอาหารเลี้ยงประชากรโลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เนื่องจากปลาเป็นอาหารโดยตรงและปลาเป็นอาหารสัตว์ ที่เป็นแหล่งโปรตีนสำคัญของโลก
ผลกระทบต่อสภาวะเอลโซต่อประเทศไทย มัณฑนา พฤกษะวัน ศึกษาเรื่องนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2531 จากการวิเคราะห์ดัชนี เปอร์เซ็นต์ของฝนรายเดือน (monthly percemtic mainfall indices และสามารถสรุปได้ว่าปรากฏการณ์ ENSO ไม่มีผลกระทบอย่างรุนแรงใน ประเทศไทย ความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นเป็นผลจากปรากฏการณ์จริงแต่ปริมาณน้ำฝนไม่แตกต่างจากปกติมากนัก อาจเกิดจาก ปริมาณน้ำฝนที่ลดลงและการกระจายของฝนลดลงกว่าสภาพปกติ
เป็นปรากฎการณ์การไหลย้อนกลับของผิวน้ำทะเลที่อุ่นในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ จากบริเวณเส้นศูนย์สูตรทางมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันตก ไปยังบริเวณเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตามบริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของ ทวีปอเมริกาใต้ (ประเทศเปรู เอดวาดอร์ และซิอีตอนเหนือ) ปรากฏการณ์เอลนิโญ (El Nino Phenomena) เป็นสาเหตุ ภูมิอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศเปรู ซึ่งอยู่ด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณหมู่เกาะด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งประกอบด้วย ประเทศอินโดนีเซีย นิวกินี และออสเตรเลียในช่วง ปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้อ่อนกำลังลงไม่สามารถพัดพาความชุ่มชื้น จากมหาสมุทรเข้าสู่หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกได้ ตามปกติจึงเกิดความแห้งแล้งใน ภูมิภาคนี้ ในทาง ตรงกันข้ามความชุ่มชื้นที่มากเกินปกติถูกพัดพาข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกเข้าสู่ชายฝั่ง ของทวีปอเมริกาใต้จนเกิดอุทกภัยในภูมิภาคนี้ เช่นเดียวกัน
นอกจากนี้กระแสน้ำลุ่นที่ถูกพัดพามายังช่วยผลักดันกระแสน้ำชายฝั่งซึ่งมีธาตุอาหารอันอุดมสมบูรณ์จนไม่สามารถไหล เข้าสู่ทะเลลึก ทำให้สัตว์น้ำที่ชุกชุมมากในบริเวณที่มีปริมาณลดลง เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเป็นสภาพ ภูมิอากาศปกติ และไม่เกิด ผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบภูมิอากาศของโลก แต่ถ้าสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เช่นนี้ยืดเยื้อออกไปเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งก่อให้เกิดความแห้งแล้งอย่างมากเนื่องจากในบริเวณตะวันตกของมหาสมุทร แปซิฟิก และเกิดความชุ่มชื้น ที่มากเกินปกติ ในบริเวณตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งเรียกว่า ความผันผวนของ ภูมิอากาศในซีกโลกใต้ (Southern Oscillation) ความผันผวนของระบบภูมิอากาศในบริเวณซีกโลกใต้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย เริ่มมีการศึกษาและ พยายามอธิบายถึงสาเหตุการเกิดมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1920 โดย Sir Gilbert Wslker ต่อมา Lim (1984) อ้างว่า Berlage (1966) ได้พยายามให้ความหมายของความผันผวนของระบบ ภูมิอากาศในซีกโลกใต้โดยรวมถึงความรุนแรงของความหมุนเวียนของบรรยากาศ ในบริเวณมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทร แปซิฟิกนี้เข้าด้วยกัน ต่อมา Quinn et al. (1978) กล่าวว่า ความผันผวน ของระบบภูมิอากาศ บริเวณนี้มีความสัมพันธ์กับ ความแตกต่างระหว่างความดันอากาศบริเวณความดันอากาศสูงถึงเขตร้อนแถบมหาสมุทรแปซิฟิกให้ (South Pacific Subtropical High) และความดันอากาศบริเวณความดันอากาศต่ำเขตศูนย์สูตรใกล้ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Equatorial Low) ซึ่งเป็นค่าที่แสดงถึงความผันผวนของระบบภูมิอากาศในซีกโลกใต้ (Southern Oscillation Indices) เมื่อใดที่ค่าดัชนีดังกล่าวมีค่าต่ำกว่า ศูนย์หรือติดลบ เมื่อจะเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญและถ้าเกิดติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี ก็จะเป็นความผันผวนของระบบภูมิอากาศ ที่เกิดขึ้นในซีกโลกใต้ ซึ่ง Lim (1984) อ้างถึงการศึกษาของ Berlage 1966 และ Bjerkness (1966, 1969 และ 1972) ซึ่งสามารถ อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของผิวน้ำทะเลมีความสัมพันธ์กับ การหมุนเวียนของกระแสน้ำในมหาสมุทร และปริมาณน้ำฝน ที่ตกลงมาบริเวณเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิก จึงรวมเรียกว่า ปรากฏการณ์เอลนิโน และความผันผวนของระบบ ภูมิอากาศบริเวณซีกโลกใต้นี้ว่า เอนโซ ENSO ( El Nino Southern Oscillation)
อิทธิพลของปรากฏการณ์เอลนิโญ
ผลกระทบการเกิดปรากฏการณ์ ENSO คือ ความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยาวนานในบริเวณหมู่เกาะด้าน ตะวันตกของ มหาสมุทรแปซิฟิก และความชุ่มชื้นอย่างผิดปกติเช่น มีพายุเฮอริเคนพัดเข้าสู่ชายฝั่งของทวีปอเมริกาใต้ใส กว่าปกติจนเป็น สาเหตุของการเกิดอุทกภัย นอกจากมีกระแสน้ำบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออกแถบชายฝั่งทะเล ของประเทศเปรูและเอดวาดร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่มีกระแสน้ำที่ไหลลงมาจากขั้วโลกใต้เลียบชายฝั่งของทวีปอเมริกาใต้ โดยอิทธิพลของลมตะวันตก แต่บริเวณใต้ฝั่งน้ำทะเล ทิศทางการไหลของกระแสน้ำทำมุม 90 องศา กับทิศทางของลมที่พัด เลียบชายฝั่งทะเลตามหลักการเกลียวหมุนของ Ekman’s Spiralซึ่งทำให้กระแสน้ำเย็นถูกพัดออกจากชายฝั่งทะเล ของประเทศพร้อมกับความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารจากชายฝั่งทะเลออกสู่ทะเลลึก ซึ่งนำไปสู่การเป็นแหล่งปลาชุกชุม เป็นแหล่งที่ชาวประมงจับปลาได้ไม่น้อยกว่า 10 ล้านตัน แต่หลังจากมีปรากฏการณ์เอนโซเกิดขึ้น กระแสน้ำที่ไหลย้อน ทิศทางที่เคยเป็นมาผลักดันกระแสน้ำจนไม่สามารถพัดพาความอุดมสมบูรณ์ออกจากชายฝั่งทะเล ทำให้ความอุดมสมบูรณ์ลดลงเป็นสาเหตุให้ปริมาณที่จับได้ลดลงเหลือเพียง
ปีละ 4 ล้านต้น เท่านั้น (Ahrem, 1983) เหตุการณ์เช่นนี้มี ผลกระทบต่อการผลิตอาหารเลี้ยงประชากรโลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เนื่องจากปลาเป็นอาหารโดยตรงและปลาเป็นอาหารสัตว์ ที่เป็นแหล่งโปรตีนสำคัญของโลก
ผลกระทบต่อสภาวะเอลโซต่อประเทศไทย มัณฑนา พฤกษะวัน ศึกษาเรื่องนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2531 จากการวิเคราะห์ดัชนี เปอร์เซ็นต์ของฝนรายเดือน (monthly percemtic mainfall indices และสามารถสรุปได้ว่าปรากฏการณ์ ENSO ไม่มีผลกระทบอย่างรุนแรงใน ประเทศไทย ความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นเป็นผลจากปรากฏการณ์จริงแต่ปริมาณน้ำฝนไม่แตกต่างจากปกติมากนัก อาจเกิดจาก ปริมาณน้ำฝนที่ลดลงและการกระจายของฝนลดลงกว่าสภาพปกติ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น